ตัวอย่างโค้ดและการทำงาน นี้เป้นตัวอย่างสำหรับการทดสอบ
ลำดับการทำงาน ของ javascript แบบปกติ และส่วนที่ใช้งาน
angularjs เนื้อหาจะไม่อธิบายอะไรมาก แต่มีความสำคัญ เพื่อ
ให้เราเข้าใจ เส้นทางการทำงานของโปรแกรม
ไฟล์ app.js
1 2 3 4 5 6 7 | console.log( "1" ); angular.module( 'app' ,[]) .controller( 'appController' , function ($scope){ console.log( "2" ); $scope.greeting= "Hello World" ; }); console.log( "3" ); |
ไฟล์ index.html
กรณีแรก มีการเรียกใช้งาน ฟังก์ชั่น angular.bootstrap
เป็นการเรียกใช้งาน angularjs แบบกำหนดเอง
โดยไม่ได้ กำหนด ng-app ในแท็กเปิด html
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 | <!DOCTYPE html> < html > < head > < meta charset = "utf-8" /> < script src = "https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular.min.js" ></ script > <!-- <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular-resource.min.js"></script> <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular-route.min.js"></script> --> < link rel = "stylesheet" type = "text/css" href = "bootstrap/css/bootstrap.min.css" /> < script type = "text/javascript" > console.log(0); </ script > < script src = "app.js" ></ script > < title >My Learn AngularJs 7</ title > < style type = "text/css" > </ style > </ head > < body ng-controller = "appController" > < br > < div class = "container" > {{greeting}} </ div > < script type = "text/javascript" > angular.element(document).ready(function() { console.log(7); }); console.log(4); angular.bootstrap(document,['app'],[]); console.log(5); </ script > </ body > </ html > < script type = "text/javascript" > console.log(6); </ script > |
ผลลัพธ์ใน console
1 2 3 4 5 6 7 8 | 0 (index):12 1 app.js:1 3 app.js:7 4 (index):32 2 app.js:4 5 (index):34 6 (index):39 7 (index):30 |
จะเห็นว่า การทำงานของ javascript ของคำสั่งที่ไม่ได้ใช้งาน angularjs
0 (index):12
จะทำงานเรียงจากบนลงล่าง ตามลำดับ
ถ้ามีการ include ไฟล์ js การทำงานก็จะเข้าไปทำงานในไฟล์นั้นก่อน
1 app.js:1
3 app.js:7
ค่าด้านบนคือการที่โปรแกรมวิ่งเข้าไปทำงานในไฟล์ js ที่ include แต่ยังไม่ทำงานใน
ส่วนของ angularjs
และออกมาทำงานด้านนอกไฟล์ js
4 (index):32
และเมื่อถึงบรรทัดที่ มีการเรียกใช้งาน angular.bootstrap โปรแกรมจึงเข้าไป
ทำงานในไฟล์ js ในส่วนของ angularjs
2 app.js:4
และออกมาทำงานด้านนอกไฟล์ js ของส่วน angularjs
5 (index):34
6 (index):39
และส่วนสุดท้าย ที่ทำงานท้ายสุดคือ ฟังก์ชั่น
1 2 3 | angular.element(document).ready( function () { console.log(7); }); |
ส่วนนี้จะเป็นการตรวจสอบว่า มีการ rendeed หน้าเพจ เสร็จเรียบร้อย
แล้วก่อนถึงจะทำงาน
7 (index):30
มาดูส่วนทำงานรูปแบบที่สอง
ไฟล์ index.html
กรณีที่ 2 ไม่มีการเรียกใช้งาน ฟังก์ชั่น angular.bootstrap (comment ปิดไว้)
และกำหนด ng-app ในแท็กเปิด html
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 | <!DOCTYPE html> < html ng-app = "app" > < head > < meta charset = "utf-8" /> < script src = "https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular.min.js" ></ script > <!-- <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular-resource.min.js"></script> <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/angularjs/1.3.0-beta.17/angular-route.min.js"></script> --> < link rel = "stylesheet" type = "text/css" href = "bootstrap/css/bootstrap.min.css" /> < script type = "text/javascript" > console.log(0); </ script > < script src = "app.js" ></ script > < title >My Learn AngularJs 7</ title > < style type = "text/css" > </ style > </ head > < body ng-controller = "appController" > < br > < div class = "container" > {{greeting}} </ div > < script type = "text/javascript" > angular.element(document).ready(function() { console.log(7); }); console.log(4); // angular.bootstrap(document,['app'],[]); console.log(5); </ script > </ body > </ html > < script type = "text/javascript" > console.log(6); </ script > |
ผลลัพธ์ใน console
1 2 3 4 5 6 7 8 | 0 (index):12 1 app.js:1 3 app.js:7 4 (index):32 5 (index):34 6 (index):39 2 app.js:4 7 (index):30 |
จะเห็นว่า angularjs ทำงานหลังจาก มีการ rendered หน้าเพจเรียบร้อยแล้ว
2 app.js:4
การรู้จักลำดับการทำงาน ของ javascript ข้างต้น มีประโยชน์ในการนำไปใช้ ในการพัฒนา
mobile app รวมทั้งการได้รู้จักการใช้งาน
angular.bootstrap และ angular.element(document).ready(function() {
จะมีประโยชน์ในการประยุกต์ต่อไป